วันพุธที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2559
วันพุธที่ 10 สิงหาคม พ.ศ. 2559
การอ่านจับใจความ
การอ่านจับใจความ
ความหมายของการอ่านจับใจความสำคัญ
คือ การอ่านเพื่อจับใจความหรือข้อคิด ความคิดสำคัญหลักของข้อความ หรือเรื่องที่อ่าน เป็นข้อความที่คลุมข้อความอื่น ๆ ในย่อหน้าหนึ่ง ๆ ไว้ทั้งหมด
ใจความสำคัญ หมายถึง ใจความที่สำคัญ และเด่นที่สุดในย่อหน้า เป็นแก่นของย่อหน้าที่สามารถครอบคลุมเนื้อความในประโยคอื่นๆ ในย่อหน้านั้นหรือประโยคที่สามารถเป็นหัวเรื่องของย่อหน้านั้นได้ ถ้าตัดเนื้อความของประโยคอื่นออกหมด หรือสามารถเป็นใจความหรือประโยคเดี่ยวๆ ได้ โดยไม่ต้องมีประโยคอื่นประกอบ ซึ่งในแต่ละย่อหน้าจะมีประโยคในความสำคัญเพียงประโยคเดียว หรืออย่างมากไม่เกิน 2 ประโยค
ใจความรอง หรือพลความ(พน-ละ-ความ) หมายถึง ใจความ หรือประโยคที่ขยายความประโยคใจความสำคัญ เป็นใจความสนับสนุนใจความ อ่านเพิ่มเติม
การอ่านคำประพันธ์
การอ่านคำประพันธ์
การอ่านคำประพันธ์
การอ่านบทร้อยกรอง การอ่านทำนองเสนาะ
บทร้อยกรอง หมายถึง เรื่องราวที่เรียบเรียงให้เกิดความไพเราะตามระเบียบบัญญัติ แห่งฉันทลักษณ์หรือระเบียบ ที่ว่าด้วยการประพันธ์ บทร้อยกรองแต่ละชนิด จะมีลักษณะ สัมผัสบังคับแตกต่างกันตามชนิดของคำประพันธ์
การอ่านกลอนสุภาพ
ลักษณะของกลอนสุภาพ คือ บทหนึ่งมีสี่วรรค วรรคละ ๘ พยางค์ การอ่านกลอนสุภาพ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
กลอนสุภาพแต่ละวรรค โดยปกติให้อ่านเว้นจังหวะเป็น ๓ / ๒ / ๓ แต่ถ้าวรรคนั้นมี
๙ พยางค์ ให้อ่านเว้นจังหวะ ๓ / ๓ / ๓ และถ้าวรรคนั้นมี ๗ พยางค์ ให้อ่าน ๒ / ๒ / ๓ เป็นต้น
บทร้อยกรอง หมายถึง เรื่องราวที่เรียบเรียงให้เกิดความไพเราะตามระเบียบบัญญัติ แห่งฉันทลักษณ์หรือระเบียบ ที่ว่าด้วยการประพันธ์ บทร้อยกรองแต่ละชนิด จะมีลักษณะ สัมผัสบังคับแตกต่างกันตามชนิดของคำประพันธ์
การอ่านกลอนสุภาพ
ลักษณะของกลอนสุภาพ คือ บทหนึ่งมีสี่วรรค วรรคละ ๘ พยางค์ การอ่านกลอนสุภาพ มีหลักเกณฑ์ ดังนี้
กลอนสุภาพแต่ละวรรค โดยปกติให้อ่านเว้นจังหวะเป็น ๓ / ๒ / ๓ แต่ถ้าวรรคนั้นมี
๙ พยางค์ ให้อ่านเว้นจังหวะ ๓ / ๓ / ๓ และถ้าวรรคนั้นมี ๗ พยางค์ ให้อ่าน ๒ / ๒ / ๓ เป็นต้น
หมายเหตุ มีบทร้อยกรองที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลอนสุภาพและมีวิธีออกเสียง สูงต่ำเช่นเดียวกัน ได้แก่ กลอนสักวาและกลอนดอกสร้อย
การอ่านโคลงสี่สุภาพ
บทประพันธ์ที่มีลักษณะเป็นโคลงสี่สุ อ่านเพิ่มเติม
บทประพันธ์ที่มีลักษณะเป็นโคลงสี่สุ อ่านเพิ่มเติม
คำสรรพนาม
คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนามเพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามนั้นซ้ำๆ แบ่งเป็น 7 ชนิด คือ
1.สรรพนามแทนผู้พูด ผู้ฟัง และผู้ที่กล่าวถึง(บุรุษสรรพนาม)
ได้แก่
ได้แก่
สรรพนามบุรุษที่ 1 แทนชื่อผู้พูด เช่น ฉัน ดิฉัน อิฉัน ผม กระผม ข้าพเจ้า เรา อาตมา เกล้ากระผม เกล้ากระหม่อม ฯลฯ
สรรพนามบุรุษที่ 2 แทนชื่อผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า แก โยม พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ฯลฯ
สรรพนามบุรุษที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถึง เช่น มัน เขา ท่าน เธอ แก พระองค์ท่าน ฯลฯ
สรรพนามบุรุษที่ 2 แทนชื่อผู้ฟัง เช่น คุณ เธอ ท่าน เจ้า แก โยม พระคุณเจ้า ฝ่าพระบาท ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาท ฯลฯ
สรรพนามบุรุษที่ 3 แทนชื่อผู้กล่าวถึง เช่น มัน เขา ท่าน เธอ แก พระองค์ท่าน ฯลฯ
2.สรรพนามชี้เฉพาะ(นิยมสรรพนาม)
สรรพนามชนิดนี้ใช้แทนนามที่อยู่ใก อ่านเพิ่มเติม
สรรพนามชนิดนี้ใช้แทนนามที่อยู่ใก อ่านเพิ่มเติม
คำเป็น คำตาย
คำเป็น คือ พยางค์ทีประสมกับสระเสียงยาวในแม่ ก กา และพยางค์ที่มีตันสะกดใน แม่ กน กง กม เกย และสระ อำ ไอ ใอ เอา
คำตาย คือ พยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นในแม่ ก กา กก กด กบ แต่ยกเว้นสระ อำ ไอ ใอ เอา อ่านเพิ่มเติม
การเขียนจดหมาย
การเขียนเพื่อการสื่อสาร
การเขียนจดหมาย ข่าว ประกาศและแจ้งความ
การเขียนจดหมายเป็นการสื่อสารโดยตรงระหว่างบุคคลหรือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ช่วย ทำให้ระยะทางไกลเป็นใกล้ เพราะไม่ว่าบุคคลหรือหน่วยงานจะห่างไกลกันแค่ไหนก็สามารถใช้จดหมายส่งข่าว คราวและแจ้งความประสงค์ได้ตามความต้องการ การส่งสารหรือ ข้อความในจดหมายต้องเขียนให้แจ่มแจ้งชัดเจน เพื่อจะได้เข้าใจตรงกันทั้งสองฝ่าย
การเขียนจดหมาย ข่าว ประกาศและแจ้งความ
การเขียนจดหมายเป็นการสื่อสารโดยตรงระหว่างบุคคลหรือระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ช่วย ทำให้ระยะทางไกลเป็นใกล้ เพราะไม่ว่าบุคคลหรือหน่วยงานจะห่างไกลกันแค่ไหนก็สามารถใช้จดหมายส่งข่าว คราวและแจ้งความประสงค์ได้ตามความต้องการ การส่งสารหรือ ข้อความในจดหมายต้องเขียนให้แจ่มแจ้งชัดเจน เพื่อจะได้เข้าใจตรงกันทั้งสองฝ่าย
องค์ประกอบและรูปแบบของจดหมาย
ผู้เขียนคงเคยเขียนจดหมายหรืออ่านจดหมายมาบ้างแล้ว คงจะสังเกตเห็นว่าจดหมาย นั้นไม่ว่าประเภทใด จะต้องประกอบด้วยสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
ผู้เขียนคงเคยเขียนจดหมายหรืออ่านจดหมายมาบ้างแล้ว คงจะสังเกตเห็นว่าจดหมาย นั้นไม่ว่าประเภทใด จะต้องประกอบด้วยสิ่งต่าง ๆ ดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง
การใช้ภาษาไทยให้ถูกต้อง
1 ใช้คำให้ถูกต้องตรงตามความหมาย กล่าวคือ ก่อนนำคำไปเรียงเข้าประโยค ควรทราบความหมายของคำคำนั้นก่อน เช่น คำว่า “ปอก” กับ “ปลอก” สองคำนี้มีความหมายไม่เหมือนกัน คำว่า “ปอก”เป็นคำกริยา แปลว่า เอาเปลือกหรือสิ่งที่ห่อหุ้มออก แต่คำว่า “ปลอก” เป็นคำนาม แปลว่า สิ่งที่ทำสำหรับสวมหรือรัดของต่างๆ เป็นต้น ลองพิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้
“วันนี้ได้พบกับท่านอธิการบดี ผมขอฉวยโอกาสอันงดงามนี้เลี้ยงต้อนรับท่านนะครับ” (ที่จริงแล้วควรใช้ ถือโอกาส เพราะฉวยโอกาสใช้ในความหมายที่ไม่ดี
2 ใช้คำให้เหมาะสม เลือกใช้คำให้เหมาะสมกับกาลเทศะและเหมาะสมกับบุคคล เช่นโอกาสที่เป็นทางการ โอกาสที่เป็นกันเอง หรือโอกาสที่เป็นภาษาเ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)